วันจันทร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2559

งานวิจัย

สรุปงานวิจัย
การพัฒนาการจัดประสบการณ์การเคลื่อนไหวและจังหวะ
โดยใช้การสอนแบบสาธิตการประยุกต์ใชทารำมวยโบราณ
ที่มีตอพัฒนาการของนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 2

การศึกษาค้นคว้าอิสระของ รติกร อินานนท์

เสนอต่อมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนสิงหาคม 2552
ลิขสทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ความมุงหมายของการศึกษาค้นควา
          1.  เพื่อพัฒนาแผนการจัดประสบการณ์การเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้การสอนแบบสาธิตการประยุกต์ใชทารำมวยโบราณที่มีตอพัฒนาการของนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  75/75  
          2.  เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการของนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 2 กอนและหลังไดรับการจัดประสบการณ์การเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้การสอนแบบสาธิตการประยุกต์ใชทารามวยโบราณ

กลุ่มตัวอย่าง
         กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นเด็กชั้นอนุบาลปที่ 2  ภาคเรียนที่ 2  ปการศึกษา 2551  โรงเรยนบ้านม่วงลายราษฎร์ผดุงศิลป์ ตําบลม่วงลาย อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร จํานวน 1 หองเรียนจํานวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบสุ่มกลุม  (Cluster  Random  Sampling)

ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล
          ระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ ภาคเรียนที่ 2  ปการศึกษา 2551  ระหว่างวันที่ 9 กุมภาพนธ์ 2552  ถึงวันที่ 20 มีนาคม 2552  ดําเนินการทดลอง 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 5 วันวันละ 30 นาทีรวมทั้งสิ้น 30 วัน

เครื่องมือที่ใช้
            แผนการจัดประสบการณ์และแบบประเมินพฤติกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใชวิธีสอนแบบสาธิตการประยุกต์ใชทารามวยโบราณที่มีตอพัฒนาการของเด็กชั้นอนุบาลปที่  2  มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 ดังนี้  
             75  ตัวแรกหมายถึงรอยละ 75 ของคะแนนเฉลี่ยของเด็กทุกคนจากการประเมินพฤตกรรมทายแผนการจดประสบการณจํานวน 6 ทา 6 ชุดทั้งหมดระหวางเรียนซึ่งไดคาเฉลี่ยรอยละ 75 ขึ้นไป 
             75  ตัวหลังหมายถึงรอยละ 75 ของคะแนนเฉลี่ยของเด็กทุกคนจากการประเมินพัฒนาการทั้ง 4  ดาน คือ ดานรางกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปญญา หลังเรียนซึ่งไดคาเฉลี่ยรอยละ 75 ขึ้นไป

สรุปผล
        แผนการจัดประสบการณ์การเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้การสอนแบบสาธิตการประยุกต์ใชทารำมวยโบราณที่มีตอพัฒนาการของนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 2  มีประสิทธิภาพ 81.16/86.28  ซึ่งสูงกว่าเกณฑที่กําหนดไว้ 75/75 และผลการเปรียบเทียบพัฒนาการของนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 2  ที่จัดประสบการณ์การเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้การสอนแบบสาธิตการประยุกต์ใชทารำมวยโบราณที่มีตอพัฒนาการของนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 2  หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น